วันพุธที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

เริ่มต้นเขียนโปรแกรม



Example #1: C Output


#include <stdio.h>      //This is needed to run printf() function.
int main()
{
    printf("My name is Suveera");  //displays the content inside quotation
    return 0;
}

Example #2: C Integer Output

#include <stdio.h>
int main()
{
    int a = 5;
    printf("Number = %d", a);
    return 0;
}

Example #3: C Integer Input/Output

#include <stdio.h>
int main()
{
    int a;
    printf("Enter an integer: ");
    scanf("%d",&a);  
    printf("Number = %d",a);
    return 0;
}

วันพฤหัสบดีที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

กิจกรรมการโปรแกรม

1. เว็บไซต์   (1.9)  [คลิกเพื่อส่งงาน ] [คลิกเพื่อตรวจสอบ]

    1)  ให้นักเรียน ม.1.9  ได้ทำการวิเคราะห์  โปรแกรม  หรือ เกมส์  ที่นักเรียนสนใจ ลงในหน้าเว็บที่นักเรียนสร้างไว้แล้ว    โดยมีขอบข่ายดังนี้
 
      1.1 ชื่อเกมหรือ โปรแกรม................................................
      1.2 การใช้งาน  กับระบบปฏิบัติการใดได้บ้าง...................................................
      1.3 วิธีการใช้โปรแกรม หรือ วิธีเล่นเกม ..........................................................
      1.4 ผลที่ได้จาการใช้งานโปรแกรม หรือเล่นเกม ............................................
      1.6 ให้นักเรียนจำลองความคิดการสร้างหรือการใช้โปรแกรม  เป็นลำดับชั้นตอน คล้ายในใบกิจกรรม
      1.5  ภาพตัวอย่างประกอบ

     2)  ให้นักเรียนจัดทำผังงานการรับรายการอาหารและคำนวณ ค่าอาหาร ของร้านอาหารที่นักเรียนกำหนดเอง

กิจกรรมการโปรแกรม

1. เว็บไซต์   (1.9)  [คลิกเพื่อส่งงาน ] [คลิกเพื่อตรวจสอบ]

    1)  ให้นักเรียน ม.1.9  ได้ทำการวิเคราะห์  โปรแกรม  หรือ เกมส์  ที่นักเรียนสนใจ ลงในหน้าเว็บที่นักเรียนสร้างไว้แล้ว    โดยมีขอบข่ายดังนี้
 
      1.1 ชื่อเกมหรือ โปรแกรม................................................
      1.2 การใช้งาน  กับระบบปฏิบัติการใดได้บ้าง...................................................
      1.3 วิธีการใช้โปรแกรม หรือ วิธีเล่นเกม ..........................................................
      1.4 ผลที่ได้จาการใช้งานโปรแกรม หรือเล่นเกม ............................................
      1.6 ให้นักเรียนจำลองความคิดการสร้างหรือการใช้โปรแกรม  เป็นลำดับชั้นตอน คล้ายในใบกิจกรรม
      1.5  ภาพตัวอย่างประกอบ

     2)  ให้นักเรียนจัดทำผังงานการรับรายการอาหารและคำนวณ ค่าอาหาร ของร้านอาหารที่นักเรียนกำหนดเอง

วันพุธที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

ผังงานและการจำลองความคิด

                      การจำลองความคิดในการเขียนโปรแกรม การจำาลองความคิดเพื่อวางแผนขั้นตอนในการเขียนโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์เรียกได้อีกอย่างว่าอัลกอริทึม (Algorithm) หรือขั้นตอนวิธี อัลกอริทึม เป็นลาดับของคาสั่งที่คอมพิวเตอร์จะปฏิบัติตามเพื่อแก้ปัญหาให้กับเราโดยจะทาคาสั่งเรียงกันตามลาดับก่อนหลังจะไม่ข้ามขั้นผลลัพธ์ของแต่ละขั้นตอนผลลัพธ์ที่ได้ของขั้นตอนหนึ่งจะส่งต่อไปยังขั้นตอนถัดไปและส่งต่อกันไปเช่นนี้ตามลาดับขั้นจนถึงคาสั่งสุดท้ายจึงจะได้ผลลัพธ์ที่เสร็จสมบูรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการจำลองความคิดประกอบด้วย 2 ลักษณะคือ

1. ข้อความคำบรรยายหรือรหัสเทียม (pseudo code) เป็นการเขียนเค้าโครงด้วยการบรรยายเป็นภาษามนุษย์ที่ใช้สื่อสารกันเพื่อให้ทราบถึงขั้นตอนการทางานของการเขียนโปรแกรมแต่ละตอนในบางครั้งอาจใช้คาสั่งของภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมก็ได้ หลักการทั่วไปในการเขียนรหัสเทียม 1. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการดาเนินการทางคณิตศาสตร์ต่างๆจะถูกใช้งานตามปกติคือ“+” สาหรับการบวก “-” สาหรับการลบ “*” สาหรับการคูณและ“/” สาหรับการหาร

2. ชื่อข้อมูลแทนจานวนที่จะถูกดาเนินการ

3. การกำหนดค่าให้กับชื่อข้อมูล เช่น เมื่อเราต้องการกาหนดให้ข้อมูล pi มีค่าเท่ากับ 3.14 สามารถเขียนได้ด้วยข้อความ pi=3.14 ในการกาหนดค่าทางคอมพิวเตอร์ด้านซ้ายของเครื่องหมายมักใช้แทนที่เก็บข้อมูลและด้านขวาแทนข้อมูลที่ต้องการนาไปเก็บ(ดังนั้นหากใช้ข้อความว่า 3.14=pi ถือว่าไม่ถูกต้องตามความหมายนี้)

4. คำสงวนบางคำที่ใช้ในภาษาระดับสูงทั่วไปอาจถูกนามาใช้เช่น Read หรือ Enter สาหรับการรับข้อมูลเข้าและ Write หรือ Print สาหรับการแสดงข้อมูลออก

5. การเพิ่มหรือลดระยะย่อหน้าอย่างเหมาะสมเพื่อแสดงระดับของขั้นตอนการทางานในโครงสร้างควบคุมการทางานในกลุ่มเดียวกัน

ตัวอย่างที่ 1 การวางแผนไปโรงเรียน การจำลองความคิดด้วยรหัสเทียม 
เริ่มต้น 
ตื่นนอน 
อาบน้าแต่งตัว 
รับประทานอาหารเช้า 
ไปโรงเรียน 
จบ


สัญลักษณ์หรือ ผังงาน (Flowchart) เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช้รูปภาพแสดงการไหลของข้อมูลในระบบตั้งแต่แรกจนได้ผลลัพธ์ตามต้องการจะแสดงการทางานของโปรแกรมโดยละเอียดในแต่ละขั้นตอนผังงานโปรแกรมเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับผู้เขียนโปรแกรมเพราะต้องใช้เป็นแนวทางในการเขียนโปรแกรมและเมื่อโปรแกรมเกิดข้อผิดพลาดการเข้าไปวิเคราะห์ผังงานโปรแกรมจะทาได้ง่ายกว่าการเข้าไปวิเคราะห์ตัวโปรแกรมโดยตรง

ประโยชน์ของผังงาน 
1. ช่วยอธิบายลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรม
2. ทาให้ตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้ง่าย
3. ทาให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมและแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย


สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานและหน้าที่

หมายถึง เริ่มต้น/จบงาน


หมายถึง การตัดสินใจเลือก

หมายถึง แทนการกาหนดค่าหรือคานวณค่า


หมายถึง อ่านข้อมูลเข้าหรือแสดงข้อมูลออก


หมายถึง แสดงผลลัพธ์ทางเครื่องพิมพ์


หมายถึง แสดงผลลัพธ์บนจอภาพ


หมายถึง จุดเชื่อมต่อ


หมายถึง ลูกศรแสดงทิศทาง


หมายถึง การป้อนข้อมูลเข้าด้วยมือ









การพัฒนาโปรแกรม

                    การพัฒนาโปรแกรม ขั้นตอนหรือวิธีการพัฒนาโปรแกรมประกอบด้วย 6 ขั้นตอนดังนี้ 

1. การวิเคราะห์ปัญหา(Problem Analysis) การวิเคราะห์ปัญหา ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ 1. กาหนดวัตถุประสงค์ของงาน เพื่อพิจารณาว่าโปรแกรมต้องทาการประมวลผลอะไรบ้าง

2. พิจารณาข้อมูลนาเข้า เพื่อให้ทราบว่าจะต้องนาข้อมูลอะไรเข้าคอมพิวเตอร์ ข้อมูลมีคุณสมบัติเป็นอย่างไร ตลอดจนถึงลักษณะและรูปแบบของข้อมูลที่จะนาเข้า

3 พิจารณาการประมวลผล เพื่อให้ทราบว่าโปรแกรมมีขั้นตอนการประมวลผลอย่างไรและมีเงื่อนไปการประมวลผลอะไรบ้าง

4. พิจารณาข้อมูลนาออก เพื่อให้ทราบว่ามีข้อมูลอะไรที่จะแสดง ตลอดจนรูปแบบและสื่อที่จะใช้ในการแสดงผล 2. การออกแบบโปรแกรม(Design) การออกแบบขั้นตอนการทางานของโปรแกรมเป็นขั้นตอนที่ใช้เป็นแนวทางในการลงรหัสโปรแกรม อาจใช้เครื่องมือต่างๆ ช่วยในการออกแบบ เช่น คาสั่งลาลอง (Pseudocode) หรือ ผังงาน (Flow chart)การออกแบบโปรแกรมนั้นไม่ต้องพะวงกับรูปแบบคาสั่งภาษาคอมพิวเตอร์ แต่มุ่งความสนใจไปที่ลาดับขั้นตอนในการประมวลผลของโปรแกรมเท่านั้น 3. การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์(Programming) การเขียนโปรแกรมเป็นการนาเอาผลลัพธ์ของการออกแบบโปรแกรม มาเปลี่ยนเป็นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องให้ความสนใจต่อรูปแบบคาสั่งและกฎเกณฑ์ของภาษาที่ใช้เพื่อให้การประมวลผลเป็นไปตามผลลัพธ์ที่ได้ออกแบบไว้ 4. การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม(Testing) การทดสอบโปรแกรมเป็นการนาโปรแกรมที่ลงรหัสแล้วเข้าคอมพิวเตอร์ หรือการติดตั้งโปรแกรมเพื่อตรวจสอบการทางานของโปรแกรมว่าถูกต้องหรือไม่ ถ้าพบว่ายังไม่ถูกก็แก้ไขให้ถูกต้องต่อไป

5. การทาเอกสารประกอบโปรแกรม(Documentation) การทาเอกสารประกอบโปรแกรมเป็นงานที่สาคัญของการพัฒนาโปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรมช่วยให้ผู้ใช้โปรแกรมเข้าใจวัตถุประสงค์ ข้อมูลที่จะต้องใช้กับโปรแกรม ตลอดจนผลลัพธ์ที่จะได้จากโปรแกรม การทาโปรแกรมทุกโปรแกรมจึงควรต้องทาเอกสาร

. การบารุงรักษาโปรแกรม(Maintenance) ต้องมีผู้คอยควบคุมดูแลและคอยตรวจสอบการทางาน การบารุงรักษาโปรแกรมจึงเป็นขั้นตอนที่ผู้เขียนโปรแกรมต้องคอยเฝ้าดูและหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมในระหว่างที่ผู้ใช้ใช้งานโปรแกรม และปรับปรุงโปรแกรมเมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้น

ภาษาคอมพิวเตอร์

                          ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Programming Language) ภาษาเป็นตัวแทนการสื่อสารระหว่าง 2 สิ่งหรือหลายๆสิ่งเพื่อให้เกิดความหมายและความเข้าใจตรงกันเช่น มนุษย์ใช้คาพูดสื่อสารกันก็ถือว่าคาพูดนั้นเป็นภาษาหรืออาจใช้มือในการสื่อสารระหว่างคนที่เป็นใบ้พูดไม่ได้หรือแม้แต่ดนตรีก็ถือว่าเป็นภาษาชนิดหนึ่งที่เป็นสากลเพราะคนชาติใดมาฟังก็จะให้ความรู้สึกเดียวกัน ในทางคอมพิวเตอร์นั้นก็ต้องทาการพัฒนาภาษาที่จะสื่อสารระหว่างมนุษย์กับเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ด้วยเหตุที่เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีเฉพาะวงจรการเปิดและปิดทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สื่อสารโดยใช้เลขฐานสองเท่านั้นเรียกภาษาที่ใช้เฉพาะเลขฐานสองในคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง (Machine Language) การที่มนุษย์จะเรียนรู้ภาษาเครื่องนั้นยากมากเพราะนอกจากจะต้องศึกษาถึงอุปกรณ์นั้นอีกด้วยซึ่งจะทาให้การใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นเรื่องยุ่งยากจึงมีผู้คิดค้นภาษาคอมพิวเตอร์ขึ้นเพื่อทาหน้าที่ในการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับมนุษย์โดยผู้ใช้จะสามารถติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Programming Language)

2.1 ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์ จากการที่มีภาษาจานวนมากมายนั้นทาให้ต้องกาหนดระดับของภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการแบ่งประเภทของภาษาเหล่านั้นการกาหนดว่าเป็นภาษาระดับต่าหรือภาษาระดับสูงจะขึ้นอยู่กับภาษานั้นใกล้เคียงกับภาษาเครื่องคอมพิวเตอร์ (ใกล้เคียงกับรหัส 0 และ 1 เรียกว่า ภาษาระดับต่า) หรือว่าใกล้เคียงกับภาษาที่มนุษย์ใช้ (ใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษเรียกว่า ภาษาระดับสูง)                    
        1. ภาษาระดับต่ำ (Low Level Language) ได้แก่
                           1.1ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาระดับต่าที่สุดเพราะใช้เลขฐานสองแทนข้อมูล (0 และ1)และคาสั่งต่างๆทาให้การเขียนโปรแกรมยุ่งยากมาก ตัวอย่าง
                                 แสดงคาสั่งของภาษาเครื่องมีดังนี้
                                 ถ้าเราต้องการสั่งให้เครื่องทางานตามคาสั่ง 9 + 3 แสดงได้ดังนี้
การบวกแทนด้วยรหัส 10101010 เลข 9 เปลี่ยนเป็นเลขฐานสอง 00001001
เลข 3 เปลี่ยนเป็นเลขฐานสอง 00000011 ดังนั้น ค่ำสั่ง 9 + 3 เขียนเป็นภาษาเครื่องได้ดังนี้ 00001001 10101010 00000011 ---------> ภาษาเครื่อง 9 + 3 --------> ภาษามนุษย์และภาษาคอมพิวเตอร์
                           1.2 ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) ภาษาแอสเซมบลีใช้รหัสเป็นค่า
แทนค่ำสั่งภาษาเครื่องทาให้นักเขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้นคือใช้สัญลักษณ์แทนเลข 0 และ 1 ของภาษาเครื่องซึ่งสัญลักษณ์ที่ใช้จะเป็นคำสั่งสั้นๆ ทำให้การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้นกว่าภาษาเครื่อง แต่ก็ยังคงยุ่งยากมากในการจาคาสั่งทั้งหมด5
                                  ตัวอย่างที่ แสดงคาสั่งของภาษาแอสเซมบลีมีดังนี้ ถ้าเราต้องการสั่งให้เครื่องทางานตามคาสั่ง 9 + 3 แสดงได้ดังนี้

                              MOV AX, 9
                              MOV BX, 3
                              ADD AX, BX

2. ภาษาระดับสูง (High Level Language) ภาษาระดับสูงจะใช้คาในภาษาอังกฤษแทนคาสั่งต่างๆรวมทั้งสามารถใช้นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ได้ด้วยทาให้นักเขียนโปรแกรมสามารถใช้เวลามุ่งไปในการศึกษาถึงทางแก้ปัญหาเท่านั้นไม่ต้องเป็นกังวลว่าคอมพิวเตอร์จะทางานอย่างไรอีกต่อไปภาษาระดับสูงนี้ถือว่าเป็นภาษายุคที่สาม (third-generation language) ซึ่งทาให้เกิดการประมวลผลข้อมูลเพิ่มมากขึ้นและมีผู้หันมาใช้คอมพิวเตอร์กันมากขึ้น

3. ภาษาระดับสูงมาก (Very high-level Language)  เป็นภาษายุคที่ 4 (fourth-generation language) หรือ 4GLs จะเป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมได้สั้นกว่าภาษาในยุคก่อนๆการทางานบางอย่างสามารถใช้เพียง 5 ถึง 10 บรรทัดเท่านั้นในขณะที่ถ้าเขียนด้วยภาษาอาจต้องใช้ถึง 100 บรรทัดโดยพื้นฐานแล้วภาษาในยุคที่ 4 นี้มีคุณสมบัติที่แยกจากภาษายุคก่อนๆอย่างชัดเจนกล่าวคือผู้เขียนโปรแกรมเพียงแต่กาหนดว่าต้องการให้โปรแกรมทาอะไรบ้างก็สามารถเขียนโปรแกรมได้ทันทีโดยไม่ต้องทราบว่าทาได้อย่างไรทาให้การเขียนโปรแกรมสามารถทาได้ง่ายและรวดเร็ว ภาษาในยุคที่ 4 นี้ยังมีภาษาที่ใช้สาหรับเรียกดูข้อมูลจากฐานข้อมูลได้เรียกว่าภาษาเรียกค้นข้อมูล (query language) การแสดงรายงานจากฐานข้อมูลภาษาเรียกค้นข้อมูลที่เป็นมาตรฐานเรียกว่า SQL (Structured Query Language)

4. ภาษาธรรมชาติ (Nature Language) เป็นภาษายุคที่ 5 (fifth generation language) หรือ 5GLs ธรรมชาติ หมายถึง ธรรมชาติของมนุษย์คือไม่ต้องสนใจถึงคาสั่งหรือลาดับของข้อมูลที่ถูกต้องผู้ใช้เพียงแต่พิมพ์สิ่งที่ต้องการลงในเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นคาหรือประโยคตามที่ผู้ใช้เข้าใจซึ่งจะทาให้มีรูปแบบของคาสั่งหรือประโยคที่แตกต่างกันออกไปได้มากมายเพราะผู้ใช้แต่ละคนอาจจะใช้ประโยคต่างกันใช้คาศัพท์ต่างกันหรือแม้กระทั่งบางคนอาจจะใช้ศัพท์แสลงก็ได้คอมพิวเตอร์จะพยายามแปลคาหรือประโยคเหล่านั้นตามคาสั่งแต่ถ้าไม่สามารถแปลให้เข้าใจได้ก็จะมีคาถามกลับมาถามผู้ใช้เพื่อยืนยันความถูกต้องภาษาธรรมชาติจะใช้ระบบฐานความรู้ (knowledge base system) ช่วยในการแปลความหมายของคาสั่งต่างๆ

5. ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming Language) นักเขียนโปรแกรมบางคนคิดว่าการเขียนโปรแกรมขนาดใหญ่นั้นบางครั้งก็เป็นงานที่หนักและเสียเวลามากจึงได้พยายามคิดหาวิธีที่จะทาให้การเขียนโปรแกรมนั้นง่ายขึ้นและสามารถเขียนได้อย่างรวดเร็วทาให้เกิดเทคนิคการโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming) หรือ OOP เพื่อช่วยลดความยุ่งยากของการเขียนโปรแกรมโปรแกรมเชิงวัตถุที่ได้รับความนิยมสูงได้แก่ JAVA , Visual Basic , C++


2.2 การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ เนื่องจากในปัจจุบันทุกๆปีจะมีภาษาคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นมากมายและภาษาต่างๆจะมีจุดดีและจุดด้อยแตกต่างกันไปผู้ใช้จึงจาเป็นต้องทาการคัดเลือกภาษาที่จะนามาใช้งานอย่างระมัดระวังเนื่องจากเมื่อศึกษาและพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วยภาษาใดภาษาหนึ่งแล้วการเปลี่ยนไปใช้ภาษาอื่นในภายหลังจะเป็นเรื่องที่ยากลาบากอย่างยิ่งทั้งในเรื่องของค่าใช้จ่ายและเวลาที่ต้องสูญเสียไปรวมทั้งปัญหาของบุคลากรที่ต้องศึกษาหาความชานาญใหม่อีกด้วย ในการเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ที่จะนามาใช้สิ่งที่ควรพิจารณาคือ
                     1. ในหน่วยงานหนึ่งๆควรจะใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาเดียวกันเพราะการดูแลรักษาซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นตลอดจนการจัดหาบุคลากรจะกระทาให้ง่ายกว่า
                     2. ในการเลือกภาษาควรเลือกโดยดูจากคุณสมบัติหรือข้อดีของภาษานั้นๆ เป็นหลัก
                     3. ถ้าโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นต้องนาไปทางานบนเครื่องต่างๆกันควรเลือกภาษาที่สามารถใช้งานได้บนทุกเครื่องเพราะจะทาให้เขียนโปรแกรมเพียงครั้งเดียวเท่านั้น
                     4. ผู้ใช้ควรจากัดภาษาคอมพิวเตอร์ที่จะใช้ไม่ควรติดตั้งตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษาบนเครื่องทุกเครื่อง
                     5. ภาษาคอมพิวเตอร์ที่เลือกใช้จะถูกจากัดโดยนักเขียนโปรแกรมที่มีอยู่เพราะควรใช้ภาษาที่มีผู้รู้อยู่บ้าง





ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์

 คอมพิวเตอร์เป็นเพียงแค่อุปกรณ์ที่ทางานตามคาสั่งที่รับมาจากผู้ใช้ ดังนั้นผู้ใช้จึงจาเป็นต้องบอกคอมพิวเตอร์ว่าต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทาอะไร โดยการสั่งงานให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานที่ต้องการ วิธีการสั่งงานดังกล่าวต้องอาศัยโปรแกรม ซึ่งก็คือกลุ่มของโปรแกรมหรือกลุ่มของคาสั่งโดยใช้ภาษาต่างๆ ในการเขียนโปรแกรมขึ้นมา ซึ่งมีมากมาย เช่น ภาษา Fortran , Cobol , Lisp , PL / 1 , Basic , Pascal , C , Ada , C++ , Perl , Java เป็นต้น แต่ภาษาที่นามาให้นักเรียนเรียนในวิชาการเขียนโปรแกรมภาษา C คือ โปรแกรมภาษา C นั้นเอง ซึ่งเป็นรากฐานที่ดีที่สุดสาหรับผู้เริ่มต้นการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมไปถึงการใช้สัญลักษณ์ Flowchart แทนคาสั่ง โดยไม่อิงถึงคาสั่งในภาษาใดภาษาหนึ่ง ช่วยให้การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้น ก่อนจะเข้าสู่การเขียนโปรแกรมภาษา C นักเรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมก่อนโดยมีเนื้อหาต่างๆ ดังนี้

 1. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการทางานต่าง ๆ นั้น ถ้าเฉพาะตัวเครื่องและอุปกรณ์หรือ "ฮาร์ดแวร์"(Hardware) นั้น จะไม่สามารถทางานได้ เพราะเครื่องยังไม่มีสิ่งที่จะมาจัดการหรือควบคุมระบบต่าง ๆ ดังนั้นจึงต้องมีโปรแกรมที่ใช้ควบคุมระบบและใช้งาน ซึ่งเราเรียกว่า "ซอฟต์แวร์"(Software) แต่เนื่องจากคอมพิวเตอร์เป็นสิ่งที่ไม่มีชีวิตจิตใจเราจึงต้องพึ่งพาบุคลากร หรือ"พีเพิลแวร์" (Pepleware) มาสั่งการให้คอมพิวเตอร์ทางานตามกระบวนการ (Procedure) ดังนั้นสรุปได้ว่าองค์ประกอบที่จะทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานได้นั้น ประกอบด้วย 5 ส่วน คือ
            1.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) สิ่งที่มองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์จะไม่สามารถทางานด้วยตัวเองเดี่ยว ๆ ได้ จะต้องนามาลงหรือติดตั้งโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพื่อให้ทางานได้
            1.2 ซอฟต์แวร์ (Software) ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือชุดคาสั่งที่เขียนขึ้น เป็นองค์ประกอบที่สาคัญประการที่สอง ซึ่งก็คือลาดับขั้นตอนของคาสั่งที่จะสั่งงานให้ฮาร์ดแวร์ทางาน เพื่อประมวลผลข้อมูลให้ได้ผลลัพธ์ตามความต้องการของการใช้งาน ซอฟต์แวร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ                         1. ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ (Operating System Software-OS)หมายถึง ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ควบคุมการทางานทั้งหมดของเครื่อง ได้แก่ Windows , Dos , Linux , Unix , Mac
                      2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)หมายถึงโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานเฉพาะด้าน เช่น โปรแกรมระบบบัญชี โปรแกรมออกแบบ โปรแกรมสาเร็จรูปต่างๆ
           1.3 ข้อมูล (Data) ข้อมูล เป็นองค์ประกอบที่สาคัญอีกประการหนึ่งของระบบสารสนเทศ อาจจะเป็นตัวชี้ความสาเร็จหรือความล้มเหลวของระบบได้ เนื่องจากจะต้องมีการเก็บข้อมูลจากแหล่งกาเนิด ข้อมูลจะต้องมีความถูกต้อง มีการกลั่นกรองและตรวจสอบแล้วเท่านั้นจึงจะมีประโยชน์
           1.4 บุคลากร หรือพีเพิลแวร์ (People ware) บุคลากรเป็นองค์ประกอบสาคัญในความสาเร็จของระบบสารสนเทศ บุคลากรมีความรู้ความสามารถทางคอมพิวเตอร์มากเท่าใด โอกาสที่จะใช้งานระบบสารสนเทศและระบบคอมพิวเตอร์ได้เต็มศักยภาพและคุ้มค่ายิ่งมากขึ้นเท่านั้น บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์มีหลายประเภท ซึ่งแต่ละประเภทมีหน้าที่และความรับผิดชอบแตกต่างกันไปดังนี้
                    1. ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User) หมายถึง ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป สามารถทางานตามหน้าที่ในหน่วยงานนั้น ๆ เช่น พิมพ์งาน ป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
                    2. ผู้ดูแลและซ่อมบารุงเครื่องคอมพิวเตอร์ (Supporter or Technician) หมายถึง ผู้คอยดูแลตรวจสอบสภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้มีสภาพพร้อมที่จะทางานได้ตลอดเวลา กลุ่มนี้จะเรียนรู้เทคนิค การดูแล รักษา การซ่อมแซม การต่อเชื่อม ตลอดจนการใช้งานโปรแกรมต่าง ๆ ค่อนข้างดี
                    3. ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Programmer :โปรแกรมเมอร์) หมายถึง ผู้เขียนโปรแกรมตามที่ผู้ออกแบบและผู้วิเคราะห์ระบบคอมพิวเตอร์เป็นผู้กาหนด เพื่อให้ได้โปรแกรมที่ตรงตามวัตถุประสงค์การใช้งานในองค์กร กลุ่มนี้จะศึกษามาทางด้านภาษาคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ สามารถเขียนคาสั่งคอมพิวเตอร์โดยภาษาต่างๆ ได้ และเป็นนักพัฒนาโปรแกรมให้คนอื่นเอาไปใช้
                    4. ผู้ออกแบบและวิเคราะห์ระบบคอมพิวเตอร์ (System Analysis) หมายถึง ผู้ที่มีหน้าที่พิจารณาว่า องค์กรควรจะใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะใดจึงจะเหมาะสม เกิดประโยชน์สูงสมุด เป็นผู้ออกแบบโปรแกรมก่อนส่งงานไปให้โปรแกรมเมอร์ทางานในส่วนต่อไป 5. ผู้บริหารระบบคอมพิวเตอร์ (System Manager or Administrator) คือ ผู้ที่มีหน้าที่บริหาร และดูแลทรัพยาการทุกชนิดที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
           1.5 กระบวนการทางาน (Documentation/Procedure) เป็นขั้นตอนการทางานเพื่อให้ได้ ผลลัพธ์หรือข้อสนเทศจากคอมพิวเตอร์ ในการทางานกับคอมพิวเตอร์จาเป็นที่จะต้องให้ผู้ใช้เข้าใจขั้นตอนการทางาน ต้องมีระเบียบปฏิบัติให้เป็นแบบเดียวกัน

ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์

 คอมพิวเตอร์เป็นเพียงแค่อุปกรณ์ที่ทางานตามคาสั่งที่รับมาจากผู้ใช้ ดังนั้นผู้ใช้จึงจาเป็นต้องบอกคอมพิวเตอร์ว่าต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทาอะไร โดยการสั่งงานให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานที่ต้องการ วิธีการสั่งงานดังกล่าวต้องอาศัยโปรแกรม ซึ่งก็คือกลุ่มของโปรแกรมหรือกลุ่มของคาสั่งโดยใช้ภาษาต่างๆ ในการเขียนโปรแกรมขึ้นมา ซึ่งมีมากมาย เช่น ภาษา Fortran , Cobol , Lisp , PL / 1 , Basic , Pascal , C , Ada , C++ , Perl , Java เป็นต้น แต่ภาษาที่นามาให้นักเรียนเรียนในวิชาการเขียนโปรแกรมภาษา C คือ โปรแกรมภาษา C นั้นเอง ซึ่งเป็นรากฐานที่ดีที่สุดสาหรับผู้เริ่มต้นการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมไปถึงการใช้สัญลักษณ์ Flowchart แทนคาสั่ง โดยไม่อิงถึงคาสั่งในภาษาใดภาษาหนึ่ง ช่วยให้การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้น ก่อนจะเข้าสู่การเขียนโปรแกรมภาษา C นักเรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมก่อนโดยมีเนื้อหาต่างๆ ดังนี้

 1. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการทางานต่าง ๆ นั้น ถ้าเฉพาะตัวเครื่องและอุปกรณ์หรือ "ฮาร์ดแวร์"(Hardware) นั้น จะไม่สามารถทางานได้ เพราะเครื่องยังไม่มีสิ่งที่จะมาจัดการหรือควบคุมระบบต่าง ๆ ดังนั้นจึงต้องมีโปรแกรมที่ใช้ควบคุมระบบและใช้งาน ซึ่งเราเรียกว่า "ซอฟต์แวร์"(Software) แต่เนื่องจากคอมพิวเตอร์เป็นสิ่งที่ไม่มีชีวิตจิตใจเราจึงต้องพึ่งพาบุคลากร หรือ"พีเพิลแวร์" (Pepleware) มาสั่งการให้คอมพิวเตอร์ทางานตามกระบวนการ (Procedure) ดังนั้นสรุปได้ว่าองค์ประกอบที่จะทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานได้นั้น ประกอบด้วย 5 ส่วน คือ
            1.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) สิ่งที่มองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์จะไม่สามารถทางานด้วยตัวเองเดี่ยว ๆ ได้ จะต้องนามาลงหรือติดตั้งโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพื่อให้ทางานได้
            1.2 ซอฟต์แวร์ (Software) ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือชุดคาสั่งที่เขียนขึ้น เป็นองค์ประกอบที่สาคัญประการที่สอง ซึ่งก็คือลาดับขั้นตอนของคาสั่งที่จะสั่งงานให้ฮาร์ดแวร์ทางาน เพื่อประมวลผลข้อมูลให้ได้ผลลัพธ์ตามความต้องการของการใช้งาน ซอฟต์แวร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ                         1. ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ (Operating System Software-OS)หมายถึง ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ควบคุมการทางานทั้งหมดของเครื่อง ได้แก่ Windows , Dos , Linux , Unix , Mac
                      2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)หมายถึงโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานเฉพาะด้าน เช่น โปรแกรมระบบบัญชี โปรแกรมออกแบบ โปรแกรมสาเร็จรูปต่างๆ
           1.3 ข้อมูล (Data) ข้อมูล เป็นองค์ประกอบที่สาคัญอีกประการหนึ่งของระบบสารสนเทศ อาจจะเป็นตัวชี้ความสาเร็จหรือความล้มเหลวของระบบได้ เนื่องจากจะต้องมีการเก็บข้อมูลจากแหล่งกาเนิด ข้อมูลจะต้องมีความถูกต้อง มีการกลั่นกรองและตรวจสอบแล้วเท่านั้นจึงจะมีประโยชน์
           1.4 บุคลากร หรือพีเพิลแวร์ (People ware) บุคลากรเป็นองค์ประกอบสาคัญในความสาเร็จของระบบสารสนเทศ บุคลากรมีความรู้ความสามารถทางคอมพิวเตอร์มากเท่าใด โอกาสที่จะใช้งานระบบสารสนเทศและระบบคอมพิวเตอร์ได้เต็มศักยภาพและคุ้มค่ายิ่งมากขึ้นเท่านั้น บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์มีหลายประเภท ซึ่งแต่ละประเภทมีหน้าที่และความรับผิดชอบแตกต่างกันไปดังนี้
                    1. ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User) หมายถึง ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป สามารถทางานตามหน้าที่ในหน่วยงานนั้น ๆ เช่น พิมพ์งาน ป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
                    2. ผู้ดูแลและซ่อมบารุงเครื่องคอมพิวเตอร์ (Supporter or Technician) หมายถึง ผู้คอยดูแลตรวจสอบสภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้มีสภาพพร้อมที่จะทางานได้ตลอดเวลา กลุ่มนี้จะเรียนรู้เทคนิค การดูแล รักษา การซ่อมแซม การต่อเชื่อม ตลอดจนการใช้งานโปรแกรมต่าง ๆ ค่อนข้างดี
                    3. ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Programmer :โปรแกรมเมอร์) หมายถึง ผู้เขียนโปรแกรมตามที่ผู้ออกแบบและผู้วิเคราะห์ระบบคอมพิวเตอร์เป็นผู้กาหนด เพื่อให้ได้โปรแกรมที่ตรงตามวัตถุประสงค์การใช้งานในองค์กร กลุ่มนี้จะศึกษามาทางด้านภาษาคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ สามารถเขียนคาสั่งคอมพิวเตอร์โดยภาษาต่างๆ ได้ และเป็นนักพัฒนาโปรแกรมให้คนอื่นเอาไปใช้
                    4. ผู้ออกแบบและวิเคราะห์ระบบคอมพิวเตอร์ (System Analysis) หมายถึง ผู้ที่มีหน้าที่พิจารณาว่า องค์กรควรจะใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะใดจึงจะเหมาะสม เกิดประโยชน์สูงสมุด เป็นผู้ออกแบบโปรแกรมก่อนส่งงานไปให้โปรแกรมเมอร์ทางานในส่วนต่อไป 5. ผู้บริหารระบบคอมพิวเตอร์ (System Manager or Administrator) คือ ผู้ที่มีหน้าที่บริหาร และดูแลทรัพยาการทุกชนิดที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
           1.5 กระบวนการทางาน (Documentation/Procedure) เป็นขั้นตอนการทางานเพื่อให้ได้ ผลลัพธ์หรือข้อสนเทศจากคอมพิวเตอร์ ในการทางานกับคอมพิวเตอร์จาเป็นที่จะต้องให้ผู้ใช้เข้าใจขั้นตอนการทางาน ต้องมีระเบียบปฏิบัติให้เป็นแบบเดียวกัน

วันจันทร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2559

ทักทาย

สวัสดีนักเรียน ที่เข้าเรียนในรายวิชา  การโปรแกรม    การออกแบบเทคโนโลยี และ การสื่อสารและการนำเสนอ  สำหรับภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559  ทุกคนนะค่ะ